วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ ๖

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี  19  กรกฎาคม  2556 
ครั้งที่ 6  เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00น.  เวลาเข้าเรียน 13.10น.  เวลาเลิกเรียน 16.40น.

   วันนี้อาจารย์เกี่ยวกับเรื่อง แนวทางการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.) การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา (Skill Approch) เช่น
               : ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
               : การประสมคำ
               : ความหมายของคำ
               : นำคำมาประกอบเป็นประโยค
2.) การสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language) คือ
                : เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์ และการลงมือทำ
                : เด็กเรียนรู้จากกิจกรรม การเคลื่อนไหวของตนเอง และการได้สัมผัสกับสิ่งต่างๆ
                :อิทธิพลของสังคมและบุคคลอื่นๆ
หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
                 1.) การจัดสภาพแวดล้อม
                  2.) การสื่อสารที่มีความหมาย
                  3.) การเป็นแบบอย่าง
                  4.) การตั้งความหวัง
                  5.) การคาดหวัง
                  6.) การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
                  7.) การยอมรับนับถือ
                  8.) การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
บทบาทครู
                  -ผู้ที่ถ่ายทอดความรู้
                  -ผู้อำนวยความสะดวก
                  -ผู้ร่วมทางการเรียนรู้ไปพร้อมๆกับเด็ก
  • สิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ คือ รู้ว่าหลัการของการสอนเป็นแบบใด และ ได้เรียนเกี่ยวกับทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในครั้งนี้ รู้ว่าบทบาทของครูต้องทำอย่างไร และมีหน้าที่ทำอะไรบ้าง เพื่อจะได้นำไปพัฒนาในการเรียนการสอนในอนาคต

วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่๕

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี 12 กรกฎาคม  2556 
ครั้งที่ 1  เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00น.  เวลาเข้าเรียน 13.10น.  เวลาเลิกเรียน 16.40น

วันนี้เรียนในหัวข้อเรื่อง องค์ประกอบของการศึกษา มีดังนี้

  • องค์ประกอบของการศึกษา

           1. เสียง (Phonology)
               -ระบบเสียงของภาษา
               -เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
               -หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
           2. ความหมายของภาษาและคำศัพท์ (Syntax)
               -คือ ความหมายของภาษาและคำศัพท์
               -คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายความหมาย
               -ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
           3. ไวยากรณ์ (Syntax)
               - คือ ระบบไวยากรณ์
               - การเสียงรูปประโยค
            4. Pragmatic
               - คือระบบการนำไปใช้
              -ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ
  • แนวคิดนักการศึกษา

           Skinner
           -สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการภาษา
           -ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง
          John B. watson
           -ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
         -การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้และผู้ใหญ่สามารถที่จะวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ทุกพฤติกรรม

  • นักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า

          - ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
          - การเรียนภาษาเป็นผลมาจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
          - เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
          - เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว
          - เมื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กเลียนแบบตัวแบบมากขึ้น
  • นักคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา

           Piaget
           - เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
           - ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก
          Vygotsky
           - เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
           - สังคม บุคคลรอบข้างมีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
           - เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
           - ผู้ใหญ่ช่วยชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
  • แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย

           Arnold Gesell
           - เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
           - ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
           - เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
           - เด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง
  • แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาแต่กำเนิด

           Noam Chomsky
           - ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
           - การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
      - มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา มาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD (Language Acquisition Derice)
  • แนวคิดของ O. Hobart Mowrer

           - คิดค้นทฤษฏีความพึงพอใจ

  • แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา

          - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
          - นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
Richard and Rodger (1995 ) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์ เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
         1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
             - นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
             - เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลี หรือประโยค
         2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
             - เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
             - การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
             - ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
         3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
             - เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างสัมพันธ์ทางสังคม
             - การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
             - เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา

บันทึกอนุทิน ครั้งที่๔

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี  5 กรกฎาคม  2556 
ครั้งที่ 1  เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00น.  เวลาเข้าเรียน 13.10น.  เวลาเลิกเรียน 16.40น

การเรียนในวันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอ power pointตามหัวข้อที่แต่ล่ะกลุ่มได้รับ ดั้งนี้
กลุ่มที่ 1 สังเกตการใช้ภาษาของเด็ก ณ สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม  มีการถ่ายวีดีโอ กับ                   เด็ก ว่าเด็กมีพฤติกรรมการใช้ภาษาแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
กลุ่มที่ 2  นำเสนอ power point แนวคิดนักทฤษฎีทางภาษาของเด็กปฐมวัย เช่น เพียเจต์ ให้แนวคิดว่า การเรียน                รู้ของเด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนการสอน 
กลุ่มที่ 3 power point พัฒนาการทางสติปัญญา เช่นเด็กอายุ 3 เดือนจะมีเสียงร้อง อ้อแอ้
กลุ่มที่ 4 นำเสนอ วีดีโอ พัฒนาการของเด็กอายุ ๒ - ๔ ปี ณ โรงเรียนอนุบาลคหกรรมฯ มหาวิทยาลัย                                  เกษตรศาสตร์ 
กลุ่มที่ 5 กลุ่มของดิฉัน นำเสนอวีดีโอ มีการถามชื่อน้อง ให้น้องร้องเพลงตาม และถามเรื่องการเรียนของน้อง ว่า                 น้องมีพัฒนาการทางด้านใดบ้าง
กลุ่มที่ 6 นำเสนอ power point น้องชื่อ เจดี เรียนอยู่ชั้น อนุบาล 2 ร้องเพลงได้เก่งมาก และกล้าที่จะพูดกับคนอื่น             ได้ดี
กลุ่มที่ 7 รายงานเรื่องการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย พร้อมกับวีดีโอ ว่าเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและมีการช่วยเหลือตัว                เองได้มากแค่ไหน
กลุ่มที่ 8 นำเสนอ power point องค์ประกอบของภาษา ได้รู้ถึงหลักไวยากรณ์ ความหมายของเสียง เสียงของเด็ก                เช่น เสียงเฮะ
กลุ่มที่ 9 เพื่อนนำเสนอ วีดีโอ โทรทัศครู เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ภาษาของเด็กปฐมวัย

การเรียนในครั้งนี้ได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ต่างกลุ่ม และสามารถนำไปใช้ในการเรียนได้

บันทึกอนุทิน ครั้งที่๓

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี  28  มิถุนายน  2556 
ครั้งที่ 1  เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00น.  เวลาเข้าเรียน 13.10น.  เวลาเลิกเรียน 16.40น

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เพราะเนื่องจากทางมหาวิทยาลัยราชฏัชจันทรเกษม มีกิจกรรมรับน้องและกิจกรรมรับน้องของเอกการศึกษาปฐมวัย โดยมีภาพกิจกรรมดังนี้

บันทึกอนุทิน ครั้งที่๒
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี  21  มิถุนายน  2556 
ครั้งที่ 1  เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00น.  เวลาเข้าเรียน 13.10น.  เวลาเลิกเรียน 16.40น.

วันนี้หัวข้อที่เรียน คือ ความสำคัญของภาษา โดยมีเนื้อหาดั้งนี้
  • ความสำคัญของภาษา
           1.ภาษาเป็นเครื่องที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
           2.ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
           3.ภาษาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
           4.ภาษาเป็นเครื่องมือจรรโลงจิตใจ
  • ทักษะทางภาษา  ประกอบด้วย
           1.การฟัง
           2.การพูด
           3.การอ่าน
           4.การเขียน
  • ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของ Piaget
            การที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญในพัฒนาการทางด้านภาษาและสติปัญญา  กระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วย 2 กระบวนการคือ
              1.การดูดซึม (Assimilation) เป็นกระบวนการที่เด็กรับรู้ และดูดซึมภาพต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมด้วยประสบการณ์ของตนเอง
              2.การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่(Accommodation) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นควบคู่ไปกับการดูดซึมโดยการปรับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ
Piaget ได้แบ่งพัฒนาการทางด้านสติปัญญาซึ่งมีความสัมพันธ์กับการใช้ภาษา ดังนี้
            1. ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส (Sensorimotor) อายุ แรกเกิด-2ปี
            2. ขั้นเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล (Preopera tional Stage) อายุ 2-4ปี
            3. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม (Concrete Operational Stage) อายุ 7-11ปี
            4. ขั้นการคิดแบบนามธรรม (Formal Operational Stage) อายุ 11-15ปี

  •  พัฒนาการภาษาของเด็ก
            เด็กจะค่อยๆสร้างความรู้และเข้าใจ เป็นลำดับขั้นตอน ครูหรือผู้สอนต้องมีความเข้าใจและยอมรับหากพบว่าเด็ก ใช้คำศัพท์หรือไวยกรณ์ ไม่ถูกต้อง และควรมองว่าเป็นกระบวนการเรียนรู้ทางภาษาของเด็ก
  •  จิตวิทยาการเรียนรู้
            1. ความพร้อม       วัย ความสามารถ และประสบการณ์ของเด็ก
            2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล       อิทธิพลทางพันธุกรรม อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม
            3. การจำ        การเห็นบ่อยๆ การทบทวนเป็นระยะ การจัดเป็นหมวดหมู่ การใช้คำสัมผัส
            4. การให้แรงเสริม      แรงเสริมทางบวก แรงเสริมทางล



บันทึกอนุทิน ครั้งที่๑


บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี  14  มิถุนายน  2556 
ครั้งที่ 1  เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00น.  เวลาเข้าเรียน 13.10น.  เวลาเลิกเรียน 16.40น.

วันนี้เรียนเป็นวันแรก อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ช่วยกันทำ My map เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย และผลงานของกลุ่มดิฉัน ก็มีดังนี้ค่ะ


เมื่อได้ทำงานชิ้นนี้แล้วรู้สึก ว่าเข้าใจเรื่องของภาษามากขึ้น เพราะภาษาไม่ใช่แค่คำพูด แต่ภาษายังมีทั้ง ภาษาเขียน ภาษาท่าง และการอ่าน และสามารถนำเอาความรู้ในวันนี้ไปจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในรูปแบบต่างๆได้อย่างหลากหลาย เพื่อให้เด็กได้รับความรู้เหล่านี้อย่างเต็มที่ และสามารถนำเอาภาษาไปใช้อย่างถูกต้อง